immune

หน้าที่รับผิดชอบ

 

  1. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย วินิจฉัยและชันสูตรโรคแอบแฝงที่ สําคัญ (Essential latent diseases) เฉพาะโรค Brucellosis, Tuberculosis และ leptospirosisอย่าง ครบวงจร
  2.  ผลิตชีวสารและชุดทดสอบสําหรับใช้ในการทดสอบและ ป้องกันโรคให้ได้ตามมาตรฐานสากล
  3. กําหนดมาตรฐานการชันสูตรและการดําเนินการใน ระบบประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการชันสูตร Essential latent diseases
  4. ดําเนินการพัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อเป็นห้องปฏิบัติการ อ้างอิงด้านการชันสูตร Essential latent diseases (เฉพาะโรค) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  5. อนุรักษ์ ศึกษา และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทาง ชีวภาพของสายพันธุ์จุลินทรีย์ของ Essential latent diseases (เฉพาะโรค)
  6.  ให้คําปรึกษา แนะนํา และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการชันสูตรและตรวจวินิจฉัย รวมถึงการควบคุมคุณภาพชีวสาร ที่ผลิตเพื่อการชันสูตรและป้องกันโรคที่เกี่ยวข้อง
  7. บูรณาการร่วมกับกลุ่มที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและ สํารวจโรคอุบัติใหม่หรืออุบัติซ้ำ
  8. ปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

      ทำการตรวจตัวอย่างซีรัมโดยวิธีการทางอิมมูนและซีรัมวิทยาเพื่อหาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรค โรคบรูเซลโลซิส โรคพาราทูเบอร์คูโลซิส โรคเลปโตสไปโรซิส โรคเมลลิออยโดซิส

โรคปากและเท้าเปื่อย โรคไข้หวัดนก โรคมัยโคพลาสมา โรคทริคิโนซิส และงานตามโครงการอื่นๆ

 

รายการตรวจวิเคราะห์ / วิธีตรวจวิเคราะห์

                     การตรวจ / โรค     วิธีการตรวจ    ชนิดตัวอย่าง         การเก็บรักษา    ปริมาณการตรวจ

ระยะเวลาในการทดสอบ

         และตอบผล

 
1. โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)  RBT และCFT

   

 

         ซีรัม

       

 

              แช่เย็น 
        (ส่งตรวจภายใน
           24 ชั่วโมง)
           หรือแช่แข็ง6 

 

 

       200 ต.ย./วัน

          4 วันทำการ  

 

 

          5 วันทำการ

 

RBT, CFT และ

ELISA1, 5

 
2. โรคปากและเท้าเปื่อย   (Foot and mouth disease) LP ELISA3           60 ต.ย./วัน  
NS test1, 5          270 ต.ย./วัน  
3. โรคพาราทูเบอร์คูโลซิส (Paratuberculosis) CFT

        200 ต.ย./วัน

 
ELISA1, 5  
4. โรคไข้หวัดนก (Avian influenza ชนิด H5) HI2

   

      200 ต.ย./วัน/ชนิด

 
5. โรคไข้หวัดนก (Avian influenza ชนิด H7)  
6. โรคนิวคาสเซิล(Newcastle disease)  
7. โรคมงคล่อเทียม  (Melioidosis) IHA           50 ต.ย./วัน  
8. โรคฉี่หนู (Leptospirosis) MAT           34 ต.ย./วัน  
9. โรคโลหิตจางในม้า (Equine infectious anemia) AGID4, 5           45 ต.ย./วัน  

 

1  ในการทดสอบต้องใช้ตัวอย่างจำนวน 90 ตัวอย่าง / 1 ชุดการทดสอบ    จึงต้องรอให้มีจำนวนตัวอย่างขั้นต่ำจำนวน

    90 ตัวอย่างจึงจะเริ่มทำการทดสอบ    ในกรณีเร่งด่วนให้แจ้งเจ้าหน้าที่รับตัวอย่างทราบเพื่อพิจารณาดำเนินการทดสอบโดยเร็ว

2  ในการทดสอบต้องใช้ตัวอย่างจำนวน 84 ตัวอย่าง / 1 ชุดการทดสอบ    จึงต้องรอให้มีจำนวนตัวอย่างขั้นต่ำจำนวน

    84 ตัวอย่างจึงจะเริ่มทำการทดสอบ    ในกรณีเร่งด่วนให้แจ้งเจ้าหน้าที่รับตัวอย่างทราบเพื่อพิจารณาดำเนินการทดสอบโดยเร็ว

3  ในการทดสอบต้องใช้ตัวอย่างจำนวน 40 ตัวอย่าง / 1 ชุดการทดสอบ    จึงต้องรอให้มีจำนวนตัวอย่างขั้นต่ำจำนวน

    40 ตัวอย่างจึงจะเริ่มทำการทดสอบ    ในกรณีเร่งด่วนให้แจ้งเจ้าหน้าที่รับตัวอย่างทราบเพื่อพิจารณาดำเนินการทดสอบโดยเร็ว

4  ในการทดสอบต้องใช้ตัวอย่างจำนวน 15 ตัวอย่าง / 1 ชุดการทดสอบ    จึงต้องรอให้มีจำนวนตัวอย่างขั้นต่ำจำนวน

    15 ตัวอย่างจึงจะเริ่มทำการทดสอบ    ในกรณีเร่งด่วนให้แจ้งเจ้าหน้าที่รับตัวอย่างทราบเพื่อพิจารณาดำเนินการทดสอบโดยเร็ว

5  ให้โทรสอบถามก่อนว่ามีชุดทดสอบหรือไม่ ถ้าต้องการให้ทดสอบ

6  ในกรณีแช่แข็ง ต้องมั่นใจว่าซีรัมนั้นไม่มีเม็ดเลือดแดงปนอยู่  จึงจะนำซีรัมนั้นเก็บในช่องแช่แข็ง  เพื่อรอส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ