Beta

หน้้าที่รับผิดชอบ

 

  1. ตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ ด้านมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ด้วยวิธีที่เป็นมาตรฐานสากล ประกอบด้วยห้องปฏิบัติการตรวจสอบสารเร่งเนื้อแดง ตรวจคุณภาพน้ำนม จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อมการปศุสัตว์ และตรวจวิเคราะห์สารตกค้างในอาหารสัตว์
  2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาวิชาการ องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้
  3. ให้คำแนะนำเพื่อแก้ไขปัญหาด้านมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  4. ตรวจหาสารในกลุ่ม Beta agonist ในตัวอย่างปัสสาวะในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง 9 จังหวัด คือ กำแงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์และอุทัยธานี

 

รายการตรวจวิเคราะห์ / วิธีวิเคราะห์

   การตรวจ / โรค

    วิธีการตรวจ

   ชนิดตัวอย่าง       การเก็บรักษา      ปริมาณการตรวจ       ระยะเวลาในการทดสอบและตอบผล

 1. เบต้าอะโกนิสต์

  (β-agonist) 1

       ELISA      ปัสสาวะ

  แช่เย็นหรือแช่งแข็ง

   160 ตัวอย่าง/วัน                        3 วันทำการ

 

 

1  ในการทดสอบต้องใช้ตัวอย่างจำนวน 80 ตัวอย่าง / 1 ชุดการทดสอบ    จึงต้องรอให้มีจำนวนตัวอย่างขั้นต่ำจำนวน

    40 ตัวอย่างจึงจะเริ่มทำการทดสอบ    ในกรณีเร่งด่วนให้แจ้งเจ้าหน้าที่รับตัวอย่างทราบเพื่อพิจารณาดำเนินการ

    ทดสอบโดยเร็ว