Environment

 

หน้้าที่รับผิดชอบ

 

  1. ตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ ด้านมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ด้วยวิธีที่เป็นมาตรฐานสากล ประกอบด้วยห้องปฏิบัติการตรวจสอบสารเร่งเนื้อแดง ตรวจคุณภาพน้ำนม จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อมการปศุสัตว์ และตรวจวิเคราะห์สารตกค้างในอาหารสัตว์
  2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาวิชาการ องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้
  3. ให้คำแนะนำเพื่อแก้ไขปัญหาด้านมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  4. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำจากฟาร์มและ โรงฆ่าสัตว์ ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง 9 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์และอุทัยธานี

               

 

รายการตรวจวิเคราะห์ / วิธีวิเคราะห์

 

 

               การตรวจ/โรค

 

           วิธีการตรวจ

 

    ชนิดตัวอย่าง

 

    การเก็บรักษา

 

    ปริมาณการตรวจ

 ระยะเวลาในการทดสอบ 

          และตอบผล

1. ความเป็นกรด - ด่าง (pH) Electrometry

น้ำเสียจากฟาร์มหรือโรงฆ่าสัตว์

แช่เย็น(ส่งตรวจทันที)

 

50 ต.ย /

รอบการตรวจ

 

 

 

 

 

 

 

7 วันทำการ /

รอบการตรวจ

2. ค่า Chemical Oxygen

    Demand (COD)

Closed Reflux และไตเตรต

3. ค่า Total Kjeldahl Nitrogen  

    (TKN)

Kjeldahlและไตเตรต

 

40 ต.ย /

รอบการตรวจ

4. Biochemical Oxygen Demand (BOD)

5 days incubation และ Azide modification

5. สารหรือตะกอนแขวนลอย      

    (Suspended Solid)

Gravimetric และอบที่ 103– 105 °C

 

 

 

50 ต.ย /

รอบการตรวจ

6. ทองแดง (Copper) Colorimetry
7. สังกะสี (Zinc)
8. ไนเตรต (Nitrate)
9. สี (Color)
10. ความขุ่น (Turbidity)